Recent Posts
Science Experiences Manangement for Early Childhood
Teacher Jintana Suksamran
Friday,September 26,2557.
Time 13:00 to 16.40 pm.
ความรู้ที่ได้รับ (The knowledge gained )
ในวันนี้อาจารย์นำเสนอตัวอย่างสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1.กระดาษ A4
2.คลิปเสียบกระดาษ
3.กรรไกร
ขั้นตอนการทำ
1.พับกระดาษ A4 ให้มีลักษณะยาวๆ
2.พับครึ่งกระดาษ
3.ใช้กรรไกรตัดให้ถึงกึ่งกลางแล้วนำคลิปเสียบกระดาษมาเสียบให้แน่น
สิ่งที่ได้รับจากการประดิษฐ์
ทำให้ได้เรียนรู้ว่าเด็กจะเรียนรู้ได้เองและดีที่สุดต้องเกิดจากการที่เด็กได้เรียนรู้จากการลงมีกระทำ ปฏิบัติจริง ซึ่งเด็กจะเกิดการค้นพบด้วยตนเอง และนำผลงานของเพื่อนมาปรับใช้ให้เข้ากับผลงานตนเอง นอกจากนี้เด็กจะได้เรียนรู้ในเรื่องของแรงโน้มถ่วงของโลก ในวิชาวิทยาศาสตร์กับชีวิตประจำวันของเด็ก แรงโน้มถ่วงจะเกิดจากที่สูงสุดลงสู่พื้นทีต่ำสุด ตัวอย่างเช่น เมื่อเราโยนเทปกาว กับ กระดาษ ขึ้นสบนอากาศ เทปกาวที่มีขนาดหนักกว่าจะตกลงถึงพื้นเร็วกว่าดระดาษ เพราะเทปกาวมีน้ำหนักมากจึงตกลงเร็วกว่ากระดาษ กระดาษมีน้ำหนักเบาและมีปีกรับอากาศทำให้ตกถึงพื้นช้ากว่า ซึ่งเด็กจะได้เรียนรู้ไปพร้อมๆกันการลงมือกระทำด้วยตนเอง และนอกจากนี้ศิลปะสร้างสรรค์จะสามารถทำเป็นชิ้นงาน เรายังสามารถตกแต่งเพิ่มเติมทำให้เด็กได้เรียนรู้การสร้างสรรค์ผลงานของตนเองอีกด้วย
ของ นางสาว มธุรินทร์ อ่อนพิมพ์ แหล่งที่มา
การสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเป็นการสอนข้อความรู้ซึ่งต่างจากการสอนให้รู้ข้อความรู้ตรงที่การสอนข้อความรู้ต้องการความสนใจ การสังเกต การจำ และการเรียกความจำจากความเข้าใจถ่ายโยงได้ ไม่ใช่การท่องจำซึ่งตรงกับการเรียนวิทยาศาสตร์ที่เป็นการเรียนรู้จากการให้คิดและมีเหตุผลเกิดการเข้าใจมโนทัศน์เชื่อสานข้อมูลประยุกต์และสรุปเป็นข้อความรู้ได้ด้วยตนเอง
2.วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยของ นางสาวจุฑามาศ เขตนิมิตรแหล่งที่มา
ประโยชน์ที่ได้รับจากกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- ส่งเสริมการเห็นคุณค่าของตนเองและมีความกระตือรือร้น
- ส่งเสริมการทำงานรายบุคคลและการคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาของเด็ก
- ยอมรับรูปแบบการเรียนรู้จากวัสดุอุปกรณ์ซึ่งจะช่วยสร้างประสบการณ์ที่เป็นธรรมชาติ การรับรู้และความพยายามของเด็กหลายคนจากการมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมีความสำคัญต่อการรับรู้ชีวิต เรียนรู้ภาษาจากประสบการณ์การทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์
- เพื่อเป็นการช่วยอธิบายความเข้าใจด้วยตัวเองของเด็ก
- ดูแลเอาใจใส่ต่อพฤติกรรมของเด็กที่ปรากฎ เช่น การแสดงความกังวลใจ เด็กที่เกิดความเบื่อ
- กิจกรรมการค้นพบช่วยให้ผู้เรียนสนใจใฝ่รู้ อยากสืบค้นต่อไป
- ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพทางสติปัญญาของเด็กจากการเรียนรู้ที่เด็กได้สัมผัสกับวัสดุอุปกรณ์ ทำให้เด็กมีแรงจูงใจในการทำกิจกรรมที่มีความมากขึ้น
3.การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยของ นางสาวบุษราคัม สะรุโณ แหล่งที่มา
การพัฒนาแนวคิดทางวิทยาศาสตร์สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลายที่เกี่ยวข้องกับการตั้งคำถาม การทดลอง การสังเกตและการหาข้อสรุปซึ่งเป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือวิธีการแก้ปัญหา ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ระดับปฐมวัย ควรให้เด็กได้ตระหนักถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ต่อไป
1.เราต้องการค้นหาอะไร
2.เราจะทำอะไรได้บ้างเพื่อการค้นหานี้
3.เราเห็นอะไรเกิดขึ้นบ้าง
4.สิ่งต่างๆเหล่านี้บอกอะไรแก่เราบ้าง
4.เรื่องอากาศของ น.ส. พรวลัญช์ คงสัตย์ แหล่งที่มา
เด็กได้รับการพัฒนาเจคติ มีความสนใจ กระตือรืร้นเกี่ยวกับธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมรอบตัว ได้เรียนรู้เรื่องอากาศ เพื่อพัฒนนาความคิดจากทักษะกระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร์เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้เรื่องอากาศ ซึ่งเป็นธรรมชาติที่จำเป็นต่อชีวิตจากประสบการณ์ตรง5.เรื่องฝึกทักษะการสังเกต ของ นางสาวเนตรนภา ไชยแดง แหล่งที่มา
เกิดจากการที่เด็กได้ฝึกการทำงานของประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง ซึ่งเด็กจะได้เรียนเรียนรู้จาการเล่นและการทำกิจกรรมต่างๆไปพร้อมๆกัน ทั้งนี้เด็กจะได้พัฒนาการทั้ง 4 ด้านอย่างครบถ้วน คือ พัฒนาการด้านร่างกาย พัฒนาการด้านอารมณ์ พัมนาการด้านสังคม และพัฒนาการด้านสติปัญญา
นอกจากนี้อาจารย์ได้นำนำเสนอ หน่วยการเรียนรู้ที่แต่ละกลุ่มนำมาส่ง ได้แก่ หน่วยกบ หน่วยแปรงสีฟัน หน่วยดอกมะลิ หน่วยไก่ หน่วยส้ม หน่วยกะหล่ำปลี หน่วยปลา หน่วยกล้วย หน่วยผีเสืื้อ
นอกจากนี้อาจารย์ได้นำนำเสนอ หน่วยการเรียนรู้ที่แต่ละกลุ่มนำมาส่ง ได้แก่ หน่วยกบ หน่วยแปรงสีฟัน หน่วยดอกมะลิ หน่วยไก่ หน่วยส้ม หน่วยกะหล่ำปลี หน่วยปลา หน่วยกล้วย หน่วยผีเสืื้อ
สิ่งที่จะนำไปพัฒนา (What will be further developed)
จากการเรียนวิทศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยในวันนี้ ในเรื่องของการประดิษฐ์สื่อการเรียนของเด็ก การจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับวิทยาศาสตร์ การสอนเด็กในหน่วยต่างๆ ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์และปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้จริงและยังสามารถส่งเสริมพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กในด้านต่างๆทำให้เด็กได้เรียนรู้ได้พัฒนาตนเอง แต่การพัฒนาของเด็กจะสมบูรณ์ต้องพัฒนาที่ตัวครูผู้ถ่ายทอดความให้เด็กก่อนครู้ต้องมีความเป็นผู้นำ และสามารถปรับเทคนิคการสอนที่หลากหลายให้แก่เด็กได้ และเป็นแแบบอย่างที่ดีดีให้แก่เด็ก
ประเมินผล (Evaluation)
ประเมินตนเอง : มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจฟังอาจารย์นำเสนอสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ที่อาจารย์เตรียมและออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียนด้วยความตั้งใจ ตอบคำถามที่อาจารย์ถาม ตั้งใจฟังอาจารย์บอกเทคนิควิธีการต่างที่สามารถนำไปปรับใช้กับเด็กได้
ประเมินเพื่อน : เพื่อนทุกคนมีความสนุกสนานและช่วยเหลือกันเป็นอย่างดีในการทำกิจกรรมประดิษฐ์ เพื่อนบางคนทำไม่ได้เพื่อนคนข้างๆก็จะช่วยสอน และช่วยกันตอบคำถามจากครู
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์นำเสนอเทคนิคต่างๆในการทำผลงานได้อย่างน่าสนใน มีการสอนการทำแต่ละขั้นตอนอย่างละเอียดเปิดโอกาสให้นักศึกษาทุกคนได้แสดงออก และบอกบอกนิคข้อผิดพลาดของแต่ละคนเพื่อนำไปปรับปรุงให้ดีขึ้น
ประเมินตนเอง : มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจฟังอาจารย์นำเสนอสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ที่อาจารย์เตรียมและออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียนด้วยความตั้งใจ ตอบคำถามที่อาจารย์ถาม ตั้งใจฟังอาจารย์บอกเทคนิควิธีการต่างที่สามารถนำไปปรับใช้กับเด็กได้
ประเมินเพื่อน : เพื่อนทุกคนมีความสนุกสนานและช่วยเหลือกันเป็นอย่างดีในการทำกิจกรรมประดิษฐ์ เพื่อนบางคนทำไม่ได้เพื่อนคนข้างๆก็จะช่วยสอน และช่วยกันตอบคำถามจากครู
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์นำเสนอเทคนิคต่างๆในการทำผลงานได้อย่างน่าสนใน มีการสอนการทำแต่ละขั้นตอนอย่างละเอียดเปิดโอกาสให้นักศึกษาทุกคนได้แสดงออก และบอกบอกนิคข้อผิดพลาดของแต่ละคนเพื่อนำไปปรับปรุงให้ดีขึ้น