วันจันทร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2557

Lesson 14


Recent Posts


Science Experiences Manangement for Early Childhood
Teacher  Jintana Suksamran

Friday,November 21,2557.
Time 13:00 to 16.40 pm.




ความรู้ที่ได้รับ (The knowledge gained )



เนื้อหา (The content) วันนี้อาจารย์ให้นำของเล่นวิทยาศาสตร์มาส่ง ซึ่งมีการแบ่งประเภทเป็น 5 ประเภท คือ


1.ประเภทลม



2.ประเภทน้ำ


3.ประเภทเสียง



4.ประเภทพลังงาน




5.ประเภทแรงโน้มถ่วง






เพื่อนนำเสนองานวิจัย และโทรทัศน์ครู


งานงิจัย


เรื่องที่ 1  ผลการจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะทางวิทยาศาสตร์ ชั้นอนุลาปีที่2



ความมุ่งหมายของวิจัย

1.เพื่อเปรียบเทียบการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณเน้นวิทยาศาสตร์สำหรับเด้กปฐมวัย
2.เพื่อเปรียบเทียบการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ก่อนและหลังการทำกิจกรรม
3.เพื่อเปรียบเทียบทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ฏปฐมวัย

ความสำคัญของการวิจัย

      การศึกษาครั้งนี้เป็ฯแนวทางการพัฒฯารูปแบบการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการสังเกต อันเป็นพื้นฐษนสำหรับเด็กปฐมวัยให้แก่ครูและผู็เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางของครูในการพัฒนาการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยให้เป็นไปตามจุดประสงค์ของการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ





เรื่องที่ 2 การพัฒนาชุดการสอนหน่วยวิทยาศาสร์ ชั้นอนุบาล2

ความมุ่งหมายของวิจัย

1.เพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อน และหลังเรียน
2.เพื่อพัฒนาชุดการสอนแบบศูนย์การเรียนรู้ชั้นอนุบาล 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์





เรื่องที่3  ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน

ความมุ่งหมายของวิจัย

1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยก่อน และหลังในการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
2.เพื่อสังเกตความสามรถของเด็ฏปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์




เรื่องที่ 4  การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยการจัดกิจกรรมการทำเครื่องดื่มน้ำสมุนไพร

ความมุ่งหมายของการวิจัย

1.เพื่อศึกษาระดับทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
2.เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานการทำงานก่อนและหลังการเรียนทดลองวิทยาศาสตร์
3.เพื่อสังเกตการทำกิจกรรมของเด็กปฐมวัยที่จัดให้



เรื่องที่ 5 ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน

ความมุ่งหมายของวิจัย

1.เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ของเด็ฏปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลัง       การฟังนิทานก่อนและหลังการทดลอง
2.เพื่อเปรีบยเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็ฏปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมก่อนการฟังนิทานและ        หลังการฟังนิทาน






เรื่องที่1 สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์

     การสอนโดยเน้นให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยตนเองจาการ สังแนก การเปรียบเทียบ โดยกระบวนการเรียนรู้นั้นเด็กเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งจะทำให้เด็กสามารถจำได้ในระยะยาว และทำให้เด็กสนใจวิทยาศาสตร์มากยิ่งขึ้น







เรื่องที่ 2 จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย



      เป็นการเรียนวิทยาศาสตร์ สมัยใหม่ ที่ทันต่อโลก และเทคโนโลยียุคใหม่ เพราะทำให้การเรียน ไม่น่าเบื่อ สนุกสนาและมีความสนุก พร้อมทั้งได้เรียนรู้และสร้างผลงานใหม่ได้ด้วยตนเอง






กิจกรรม COOKING ทำ "WAFFLES"



อาจารย์แนะนำอุปกรณ์ weffles และขั้นตอนการทำ



อุปกรณ์ในการทำ weffles



ขั้นตอนการตีไข่กับแป้ง



ส่วนผสมทั้งหมดที่ตีเข้ากันแล้ว



weffles พร้อมทาน



ประเมินผล (Evaluation)


ประเมินตนเอง : การเรียนในวันนี้บรรยากาศสนุกสนาไม่ตึงเครียด เพราะอาจารย์กิจกรรมสนุกในทำ และยังในทำวอฟเฟิล ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ดิฉันเคยทำรู้สึกตื่นเต้นมาก และหลังจากทำเสร็จเพื่อนได้นำเสนอวิจัย และโทรทัศน์ซึ่งมีเนื้อหาสาระที่น่าสนในมาก และอาจารย์ยังสรุปวิจัยและโทรทัศน์ให้กระชับเข้าใจง่ายอีกด้วย


ประเมินเพื่อน : เพื่อนในห้องเรียนทุกคนมีความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตั้งแต่ก่อนเริ่มทำขนม เพื่อนก็ช่วยกันเตรียมอุปกรณ์ส่วนประกอบที่ใช้ใส่วอฟเฟิลกันมากลุ่มละ 1 อย่าง และนอกจากนี้เพื่อนยังแบ่งปันอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำวอฟเฟิลอีกด้วย จึงทำให้การเรียนในวันนี้มีความสุข และสนุกสนานมาก


ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ได้บอกวิธีการทำวอฟเฟิลที่ง่ายๆ ให้แก่นักศึกษา อาจารย์มีการเตรียมสื่ออุปกรณ์ที่น่าสนใจ ใช้สื่อที่เป็นของจริง นอกจากนี้อาจารย์ยังสรุปวิจัยที่เพื่อออกมานำเสนอแต่ละครั้งทำให้เข้าใจง่ายขึ้นและได้สาระเป็นอยากมาก










ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น